ประวัติศูนย์สารสนเทศการวิจัย (DRIC History)

ประวัติศูนย์สารสนเทศการวิจัย

 

จุดเริ่มต้น  ลำดับการก้าวผ่านของงานข้อมูลการวิจัยของประเทศ  
จัดตั้งสภาวิจัยแห่งชาติ  2499 06 ก.ย 2499 พ.ร.บ. สภาวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2499(ยกเลิก 28  ต.ค. 02)
    ม.3 จัดตั้งสภาวิจัยแห่งชาติเพื่อการวิจัยทางวิทยาศาสตร์
จัดทำทะเบียนนักวิจัย   ม.4(6) จัดให้มีขึ้นซึ่งทะเบียนบุคคล เป็นนักวิจัยทางวิทยาศาสตร์
จัดตั้งสำนักงานสภาวิจัยแห่งชาติ   ม.15 อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์ เป็นเลขาธิการสํานักงานสภาวิจัยแห่งชาติ  
  4-Dec-99 มติ ค.ร.ม. (นว. 220/2499 ลว. 6 ธ.ค. 2499) (ยกเลิก 27 พ.ย. 50)
    ให้ กระทรวง ทบวง กรมต่างๆ รวบรวมผลการวิจัยที่ได้ทําสําเร็จไปแล้ว และที่กําลัง ทําอยู่ส่งไปยังสํานักงานเลขาธิการสภาวิจัยแห่งชาติ
จัดตั้งสภาวิจัยแห่งชาติ  2502 28-Oct-02 พ.ร.บ. สภาวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2502
    ม.3 ยกเลิก พ.ร.บ.สภาวิจัยแห่งชาติพ.ศ. 2499
ตั้งสาขาวิชาการ 10 สาขา   ม.4 จัดตั้งสภาวิจัยแห่งชาติเพื่อการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และสังคมศาสตร์ รวม10 สาขาวิชา
    ม.6 สภาวิจัยแห่งชาติมีหน้าที่12 ขอ
จัดทำทะเบียนนักวิจัย   (5) จัดให้มีทะเบียนนักวิจัยและผู้ ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาการต่างๆ 
ให้มีสำนักงานสภาวิจัยแห่งชาติ   ม.11 ให้ มีสํานักงานสภาวิจัยแห่งชาติและเลขาธิการสภาวิจัยแห่งชาติ
  21-Mar-03 ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรีเรื่องการแบ่งส่วนราชการสํานักงานสภาวิจัยแห่งชาติ
    1. สํานักงานเลขานุการ
    แผนกสารบรรณ แผนกคลัง แผนกประมวลสถิติและทะเบียน
    2. กองประมวลและประสานงาน
    แผนกนโยบายและส่งเสริมการวิจัย
    แผนกสํารวจและประมวลผลการวิจัย 
ตั้งแผนกเอกสารและเผยแพร่   แผนกเอกสารและเผยแพร่
  22-Jul-03 ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรีเรื่องการแบ่งส่วนราชการสํานักงานสภาวิจัยแห่งชาติ
    1. สํานักงานเลขานุการ
    แผนกสารบรรณ แผนกคลัง แผนกประมวลสถิติและทะเบียน
    2. กองประมวลและประสานงาน
    แผนกนโยบายและส่งเสริมการวิจัย
ตั้งแผนกทะเบียนการวิจัย   แผนกสํารวจและประมวลผลการวิจัย 
    แผนกเอกสารและเผยแพร่
    3. กองแปล
    แผนกวิทยาศาสตร์ แผนกสังคมศาสตร์ 
  2-May-04 มติค.ร.ม. (นว. 40/2504 ลว. 3 พ.ค. 2504) (ยกเลิก 27 พ.ย. 50)
    ให้กระทรวง ทบวง กรมต่างๆ รวบรวมผลของงานวิจัยส่งไปยังสํานักงานสภาวิจัยแห่งชาติ
  7 ธันวา 2504 ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรีเรื่องการแบ่งส่วนราชการสํานักงานสภาวิจัยแห่งชาติ
    1. สํานักงานเลขานุการ
แผนกสารบรรณ แผนกคลัง แผนกสถิติและรายงาน แผนกการประชุม
    2. กองประมวลและประสานงาน
    แผนกนโยบายและส่งเสริมการวิจัย
ตั้งแผนกทะเบียนการวิจัย   แผนกสํารวจและประมวลผลการวิจัย
    แผนกทะเบียนการวิจัย
    3. กองแปลและการต่างประเทศ     
    แผนกแปล แผนกวิเทศสัมพันธ์แผนกวารสาร
    4. กองวิจัยสังคมศาสตร์
ตั้งศูนย์บริการอกสารการวิจัย   5. ส่วนศูนย์บริการเอกสารการวิจัย
กองห้องสมุดและเอกสาร   1) กองห้องสมุดและเอกสาร 3 แผนก
    2) กองบริการตอบสนอง 3 แผนก 
    3)กองคัดถ่ายและจำลองเอกสาร 3 แผนก
ยุบอำนาจหน้าที่ของ"สภาวิจัยแห่งชาติ" มาตั้งเป็นอำหน้าที่ของ"สำนักงานสภาวิจัยแห่งชาติ" 7-Sep-07 พ.ร.บ. สภาวิจัยแห่งชาติพ.ศ. 2507 แก้ไข พ.ร.บ. สภาวิจัยแห่งชาติพ.ศ. 2502
    ม.11 ให้มีสํานักงานสภาวิจัยแห่งชาติและมีเลขาธิการสภาวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานสภาวิจัยแห่งชาติมีหน้าที่ 13 ข้อ
    8) จัดให้มีทะเบียนนักวิจัยและผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาการต่างๆ
ตั้งสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ(วช.) นอก พ.ร.บ.สภาวิจัยแห่งชาติ 29 กันยาบน 2515 ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 216
โอนอำนาจ หน้าที่ ทรัพย์สิน และบุคลากรของสำนักงานสภาวิจัยแห่งชาติไปเป็นของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ   หมวด 1 ข้อ 4 สํานักนายกรัฐมนตรีมีส่วนราชการดังต่อไปนี้
  (11) สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
29 กันยาบน 2515 ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 217
    ข้อ 8 ให้โอนบรรดาอํานาจที่เกี่ยวกับราชการของสํานักงานสภาวิจัยแห่งชาติไปเป็นของสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    ข้อ 9 ให้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน ของสํานักงานสภาวิจัยแห่งชาติ
    ไปเป็นของสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
แก้ไขให้สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติอยู่ใน พ.ร.บ. สภาวิจัยแห่งชาติแทนสำนักงานสภาวิจัยแห่งชาติ 13-Dec-15 ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 315
    ข้อ 2 แก้ไข พ.ร.บ. สภาวิจัยแห่งชาติ
    ม.11 ให้มีสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    และให้มีเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติมีหน้าที่ 13 ข้อ
ให้มีทะเบียนนักวิจัย   (8) จัดให้มีทะเบียนนักวิจัยและผู้ทรงคุณวุฒในสาขา  วิชาการต่างๆ
  3-Sep-17 มติค.ร.ม. (สร. 0201/ว.97 ลว. 4 ก.ย. 2517) (ยกเลิก 27 พ.ย. 50)
    ให้ กระทรวง ทบวง กรมต่างๆ รวบรวมผลของงานวิจัยส่งไปยังสํานักงานคณะ กรรมการวิจัยแห่งชาติ
  23-Sep-18 23 มติค.ร.ม.(สร. 0201/ว128 ลว. 26 ก.ย. 2518) (ยกเลิก 27 พ.ย.50)
    ให้ กระทรวง ทบวง กรม และรัฐวิสาหกิจต่างๆ จัดส่งรายงานผลการวิจัยที่ได้ดําเนินการเสร็จแล้วทุกเรื่องไปให้ สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติเป็นประจําตลอดไป
  9-Oct-18 พ.ร.ฎ. การแบ่งส่วนราชการสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติฯ พ.ศ. 2518
    1. สํานักงานเลขานุการกรม
    2. กองโครงการและประสานงานวิจัย
    3. กองทะเบียนการวิจัย
    4. กองนโยบายและวางแผน
    5. กองบริการเอกสารและห้องสมุด
    6. กองแปลและการต่างประเทศ
    7. กองส่งเสริมการวิจัย
  25-Feb-22 พ.ร.บ. แก้ไขประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่216 (29 ก.ย.15)
    ม.3 แก้ ข้อ 2 ให้มีกระทรวง...
    ม.7 เพิ่มความหมวด 9 ทวิ
    ข้อ 22 ตรีกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน มีส่วน
    ราชการดังต่อไปนี้
    (4) สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
  8-May-22 การแบ่งส่วนราชการสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติพ.ศ. 2522
    1. สํานักงานเลขานุการกรม
    2. กองโครงการและประสานงานวิจัย
    3. กองทะเบียนการวิจัย
    4. กองนโยบายและวางแผน
    5. กองบริการเอกสารและห้องสมุด
    6. กองแปลและวิเทศสัมพันธ 
    7. กองวิเคราะห์โครงการและประเมินผล
    8. กองส่งเสริมการวิจัย
    9. กองสํารวจทรัพยากรธรรมชาติด้วยดาวเทียม
ตั้งศูนย้อสนเทศการวิจัย(ยุบรวมกองทะเบียนการวิจัยละกองบริหารเอกสารและห้องสมุด) 18-Aug-33 พ.ร.ฎ. การแบ่งส่วนราชการสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติพ.ศ. 2533 
    6. กองส่งเสริมการวิจัย
    7. กองสํารวจทรัพยากรธรรมชาติดวยดาวเทียม
    8. ศูนย้ข้อสนเทศการวิจัย
  10-Jul-37 พ.ร.ฎ. การแบ่งส่วนราชการสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติพ.ศ. 2537
อำนาจหน้าที่ของศูนย์ข้อสนเทศการวิจัย   ม.5 (8) ศูนย์ข้อสนเทศการวิจัย มีอํานาจหน้าที่
    (ก) จัดหาเอกสาร รวบรวมข้อมูลการวิจัย
    (ข) ดําเนินการจําแนกและจัดหมวดหมู่ข้อมูลและหนังสือ
    (ค) จัดทําสารสนเทศเกี่ยวกับการวิจัย
    (ง) เป็นศูนย์ข้อมูลให้บริการข้อสนเทศการวิจัย
    (จ) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นๆ
ตั้งสาขาวิชาการเพิ่ม 2 สาขา 4-Jun-40 พ.ร.ฎ. จัดตั้งสาขาวิชาในสภาวิจัยแห่งชาติพ.ศ. 2540
    ม. 3 ให้สภาวิจัยแห่งชาติมีสาขาวิชาการขึ้นใหม่ ดังนี้
    1) เทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
    2) การศึกษา
  24-Nov-43 พ.ร.ฎ. โอนสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ
    ไปเป็นส่วนราชการมีฐานะเป็นกรม ซึ่งไม่สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรีกระทรวง หรือทบวง พ.ศ. 2543
  9-Oct-45 กฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติพ.ศ. 2545
    ข้อ 2 ให้แบ่งส่วนราชการสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติดังต่อไปนี้
    6. กองส่งเสริมการวิจัย
    7. ศูนย์ข้อสนเทศการวิจัย
    ข้อ 3
อำนาจหน่สที่ของศูนย์ข้อสนเทศการวิจัย   (7) ศูนย์ข้อสนเทศการวิจัย มีอํานาจหน้าที่
    (ก) จัดหาเอกสาร รวบรวมข้อมูลการวิจัย
    (ข) ดําเนินการจําแนกและจัดหมวดหมู่ข้อมูลและหนังสื
    (ค) จัดทําสารสนเทศเกี่ยวกับการวิจัย
    (ง) เป็นศูนย้ข้อมูลให้บริการข้อสนเทศการวิจัย
    (จ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นๆ
  27-Nov-50 มติค.ร.ม. (0505/ว 173 ลว. 28 พ.ย. 50)
    ให้กระทรวง กรม รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอื่นของรัฐ และหน่วยงานในกํากับของรัฐ ต่างๆ จัดส่งผลการวิจัยที่สําเร็จเป็นเอกสารรายงานวิจัย วิทยานิพนธ์วารสารวิจัย บทความวิจัยและวิชาการ ไปให้สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติเป็นประจํา ตลอดไป
วิกฤตอุทกภัย Oct-54 เอกสารผลงานวิจัยของห้องสมุดถูกน้ำท่วมเสียหาย
    วช. กำหนดนโยบายการให้บริการสืบค้นข้อมูลผลงานวิจัยในรูปแบบดิจิทัล ในนาม "ศูนย์ข้อมูลการวิจัยดิจิทัล วช. Digital Research Information Center : DRIC)
  1-May-62 พ.ร.บ. ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่19 )พ.ศ. 2562  โอน สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เป็นสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ ภายใต้กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
โครงสร้างสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ  2-Mar-64 กฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2564
    โครงสร้างสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
 ข้อ 2ให้แบ่งส่วนราชการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
                 (6) กองระบบและบริหารข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
    มีหน้าที่   
    จัดทำฐานข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ จัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศกลางการวิจัยและนวัตกรรม และเชื่อมโยงข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กับหน่วยงานในระบบวิจัยและนวัตกรรมทั้งภายในประเทศและต่างประเทศและจัดทำดัชนีด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ รวมทั้งพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลและโครงสร้างพื้นฐาน ทางเทคโนโลยีดิจิทัลของสำนักงาน
    ข้อ 10 กองระบบและบริหารข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม มีหน้าที่และอำนาจดังต่อไปนี้    
    (10) จัดทำแผนปฏิบัติการด้านดิจิทัลให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนระดับชาติ ว่าด้วย การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานภายใต้แผนปฏิบัติการ ด้านดิจิทัล รวมถึงพัฒนาและบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีดิจิทัล ระบบงาน คอมพิวเตอร์และเครือข่ายของสำนักงาน ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายในสังกัด
    (๒) จัดทำฐานข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ จัดทำระบบข้อมูล สารสนเทศกลางการวิจัยและนวัตกรรม รวมถึงเชื่อมโยงข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กับหน่วยงานในระบบวิจัยและนวัตกรรมทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ
     (3) จัดทำดัชนีด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ และรายงานสถานภาพ การวิจัยและนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
    (4) วิเคราะห์ สังเคราะห์การดำเนินการและผลงานวิจัยและนวัตกรรมของหน่วยงาน ในระบบวิจัยและนวัตกรรม ตามนโยบายและยุทธศาสตร์การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
    (5) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือ ที่ผู้อำนวยการมอบหมาย
    ศูนย์ข้อสนเทศการวิจัย ศูนย์กลางองค์ความรู้งานวิจัยของประเทศ 
    ศูนย์กลางข้อมูลการวิจัยของประเทศ ห้องสมุดงานวิจัย
    ศูนย์กลางสถิติข้อสนเทศการวิจัย